ระเบียบข้อกฏหมาย
ระเบียบข้อกฎหมาย ประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือนในปี พ.ศ. 2564
ได้กําหนดแนวทางให้ข้าราชการใช้เป็นหลักเกณฑ์ในการปฏิบัติตน
และรักษา คุณงามความดีที่ข้าราชการต้องยึดถือในการปฏิบัติงาน ดังนี้
ระเบียบข้อกฎหมาย มาตรฐานวิชาชีพ และจรรยาบรรณ ของวิชาชีพครู พ.ศ. 2556
เป็นข้อกำหนดเกี่ยวข้องกับคุณลักษณะ และคุณภาพที่ครูครัวมี ในการประกอบอาชีพด้านการศึกษา
ซึ่งผู้ที่ประกอบวิชาชีพด้านการศึกษาทุกคน ควรต้องปฏิบัติตาม ประกอบด้วย มาตรฐานด้านความรู้
ประสบการณ์วิชาชีพ มาตรฐานในการปฏิบัติงาน และการปฏิบัติตน
ระเบียบข้อกฎหมายอาญา ฉบับปรับปรุง
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 มีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้า ฯ ให้ประกาศว่า..
สมควรปรับปรุงกฎหมายอาญา ใหม่ เพราะตั้งแต่ได้ประกาศใช้ กฎหมายลักษณะอาญา ใน พ.ศ. 2451 เป็นต้นมา
พฤติการณ์ของบ้านเมืองได้เปลี่ยนแปลงไปมาก จึงได้มีการเปลี่ยนแปลงใหม่ และประกาศใช้ ในปี พ.ศ 2499 ดังนี้..
ระเบียบข้อกฎหมาย การจราจรทางบก ฉบับปรับปรุง ปี พ.ศ. 2522
การใช้ทางของผู้ขับขี่ คนเดินเท้า คนที่จูง ขี่ หรือไล่ตอนสัตว์ ทางเดินรถ ช่องเดินรถประจําทาง
ไหล่ทาง ทางเท้า ทางข้าม ทางร่วม ทางแยก ทางลาด ทางโค้ง สะพาน
และลานหรือที่ใช้ในการจราจร รวมถึงทางรถไฟ มีดังนี้
หลักเกณฑ์การรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใดจากบุคคล
โดยถูกต้องตามจรรยาบรรณของเจ้าหน้าที่ของรัฐ
แห่งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกัน
และปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2542 มีดังนี้
พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ฉบับปีพ.ศ. 2561
เป็นมาตรการหรือแนวทางที่จะทำให้การปฏิบัติหน้าที่มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล
เกิดความรวดเร็ว สุจริต และเที่ยงธรรม อีกทั้งได้บัญญัติให้รัฐมีหน้าที่ส่งเสริม สนับสนุน
และให้ความรู้แก่ประชาชนถึงอันตรายที่เกิดจากการทุจริตและประพฤติมิชอบทั้งในภาครัฐ
และภาคเอกชน และจัดให้มีมาตรการและกลไกที่มีประสิทธิภาพในการป้องกัน
และขจัดการทุจริตและประพฤติมิชอบดังกล่าวอย่างเข้มงวด
ระเบียบข้อกฎหมายควบคุมการเรี่ยไรของหน่วยงานของรัฐ
และ วิธีการยื่นคําขออนุมัติให้หน่วยงานของรัฐจัดให้มีการเรี่ยไร
หรือให้หน่วยงานของรัฐเข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องกับการเรี่ยไร
คู่มือการป้องกัน ผลประโยชน์ทับซ้อน
คู่มือที่ให้ข้อมูลเพื่อป้องกันปัญหาจากการทุจริตที่เกิดขึ้นในระบบราชการยุคปัจจุบัน
ส่วนใหญ่เกิดจากผลประโยชน์ขัดกันระหว่างผลประโยชน์ ‘ส่วนตัว’ กับ ‘ส่วนรวม’
ในการดำรงตำแหน่งของเจ้าหน้าที่รัฐ หรือข้าราชการ ที่เรียกว่า “ผลประโยชน์ทับซ้อน”
จึงถือได้ว่าปัญหาการทุจริตประเภทหนึ่ง
ระเบียบข้อกฎหมาย การจัดซื้อจัดจ้าง และการบริหารพัสดุ ภาครัฐ ให้เหมาะสม พ.ศ. 2560
หน่วยงานภาครัฐที่ได้รับงบประมาณที่ใช้ในการจัดซื้อ หรือจัดจ้าง
จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องหรือผู้ที่มีอำนาจในการพิจารณางบประมาณแล้ว
ผู้ได้รับมอบหมายต้องจัดทำแผนการจัดซื้อจัดจ้างประจำปีเสนอหัวหน้าหน่วยงานของตน
เพื่อขอความเห็นชอบก่อนถึงจะทำการจัดซื้อหรือจัดจ้างได้อย่างถูกต้อง
ระเบียบข้อกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค
และการใช้บริการ รวมทั้งบริการอื่น ๆ เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ผู้บริโภค
ดังนั้น ผู้ให้บริการหรือผู้ผลิตจะต้องได้มาตรฐานและมีคุณภาพครบถ้วนตามที่ได้โฆษณาไว้
กฎหมายที่เกี่ยวกับการดำรงชีวิตของคนในสังคม โดยทั่วไปจะเกี่ยวข้องกับการบริโภคสินค้า
ระเบียบข้อกฎหมายกระทรวงการคลัง กับการรับเงินหรือทรัพย์สินที่มีผู้บริจาคให้ทางราชการ
การรับบริจาคเงินหรือทรัพย์สินไม่ว่ากรณีใด ๆ ให้ส่วนราชการผู้รับบริจาคคํานึงถึงผลได้ ผลเสีย
และประโยชน์ที่ทางราชการจะได้รับ และจะต้องให้ตอบแทนทั้งในปัจจุบัน และอนาคตเป็นสําคัญ
ส่วนการรับบริจาคที่มีเงื่อนไขเป็นการผูกพันจะต้องไม่ให้ประโยชน์ต่อผู้ใดโดยเฉพาะ
ระเบียบข้อกฎหมาย การรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง
ที่บังคับใช่ในเขตเทศบาล สุขาภิบาล กรุงเทพมหานคร และเมืองพัทยา มีดังนี้
ระเบียบข้อกฎหมาย การจัดระเบียบบริหารของตำบล และองค์การบริหารส่วนตำบล
สภาตำบลมีอำนาจหน้าที่ในการพัฒนาตำบลตามแผนงานโครงการ และงบประมาณของสภาตำบล
เสนอแนะส่วนราชการในการบริหารราชการและพัฒนาตำบลปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการตำบล
ตามกฎหมายว่าด้วย ลักษณะปกครองท้องที่ และหน้าที่อื่นตามที่กฎหมายกำหนด
Last modified: Thursday, 30 September 2021, 10:43 AM